วันศุกร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2553

เว็บไซต์ กัมมันตรังสี นิเคลียร์

ประเมินผลงาน 100 คะแนน

ขอให้เพิ่อนๆ ครู ญาติและผู้มีเกียรติทั้งหลายร่วมประเมินผลงาน โดยมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน
ขอขอบคุณทุกท่าน
- เพื่อนประเมินเพื่อน จำนวน 5 คน

กิจกรรม 5-9 ก.ค. 53 คะเเนนรวม 90 คะเเนน

คลื่น

-ชนิดของคลื่น

-ส่วนประกอบของคลื่น

-สมบัติของคลื่น

-ปรากฏการ คลื่น

-การสะท้อน

-การหักเห

-การเลี้ยวเบน

-การแทรกสอด

-คลื่นในเส้นเชือกที่ปลายตรึงไว้

ที่มา

http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/saowalak/wave/wave.htm


http://www.icphysics.com/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=54


http://www.bs.ac.th/lab2000/physicweb/sonic.htm


http://th.wikipedia.org/wiki/%C3%80%C2%B8%E2%80%9E%C3%A0%C2%B8%C2%A5%C3%A0%C2%B8%C2%B7%C3%A0%C2%B9%CB%86%C3%A0%C2%B8%E2%84%A2


http://www.walter-fendt.de/ph14th/interference_th.htm

http://thaigoodview.com/node/28923

http://www.muslimthai.com/main/1428/content.php?page=sub&category=110&id=5119


http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/95/wave1/wave_1.htm





คลื่นเสียง


-การสั่นและคลื่นเสียง

-เสียง

-แหล่งกำเนิดเสียง

-คุณลักษณะของเสียง

ที่มา

http://www.cmw.ac.th/elibrary/fileselibrary/Science/oraphin001/index.html


http://www.mwit.ac.th/~ampornke/Documents_PPT/PPT_Waves/08_3The%20Nature%20and%20Properties%20of%20sound1.pdf


http://www.streesmutprakan.ac.th/teacher/sci/Physnan/sound/html/useful.htm


http://www.aboatmagazine.com/detail.php?id_detail=NL00000012&type=6


http://school.obec.go.th/sridonchai/Webstu/ProjectWave/Deteil/page33.htm





แสง


-การสะท้อนของแสง

มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน

ภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ จะได้ภาพเสมือนหัวตั้งกลับ

ซ้ายขวา ขนาดภาพเท่ากับขนาดวัตถุและระยะภาพเท่ากับ

ระยะวัตถุการสะท้อนของกระจกโค้ง

-การหักเหของแสง

การหักเห เกิดจากอัตราเร็วของคลื่นแสงในตัวกลางทั้ง

สองไม่เท่ากัน

-มุมวิกฤต

มุมวิกฤต คือ มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเห

เป็น 90o ปรากฎการสะท้อนกลับหมด มุมตกกระทบจะมาก

กว่ามุมวิกฤต เกิดจากการที่คลื่นแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่

มีค่าดรรชนีหักเหมากไปสู่ตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหน้อย

-การแทรกสอดของคลื่นแสง

-ความสว่างของแสง

ที่มา
http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/fddi/fddi.html


http://physicsforth.spaces.live.com/blog/cns!653E82EA9340DFA3!2151.entry


http://www.ipst.ac.th/thaiversion/publications/in_sci/laser.html


http://guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?select=1&q=%A1%D2%C3%E3%AA%E9%BB%C3%D0%E2%C2%AA%B9%EC%C3%D1%A7%CA%D5%E0%CD%A1%AB%EC

http://www.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/virtual1/lightspeed/lightspeed.html

วันพฤหัสบดีที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2553

กิจกรรม 12-16 ก.ค. 53 สือค้นข้อมูล (ไม่ต่ำกว่า 10 เว็บ)

คลื่นกล (mechanical wave)
คลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ได้แก่ คลื่นเสียง คลื่นน้ำ คลื่นในเส้นเชือก ฯลฯ คลื่นพวกนี้สามารถถ่ายทอดพลังงานและโมเมนตัม โดยอาศัยความยืดหยุ่นของตัวกลางถ้าอุณหภูมิคงตัว อัตราเร็วของคลื่นกลจะมีค่าเท่ากันในตัวกลางชนิดเดียวกัน
คลื่นดิน ground wave
เป็นคลื่นวิทยุที่ส่งจากสถานีส่งกระจายเสียงไปถึงเครื่องรับวิทยุโดยตรงในแนวระดับสายตา
ที่มา
www.sa.ac.th/winyoo/mechanicswave/Index.htm



คลื่นดิน (ground wave)
เป็นคลื่นวิทยุที่ส่งจากสถานีส่งกระจายเสียงไปถึงเครื่องรับวิทยุโดยตรงในแนวระดับสายตา
ที่มา
www.neutron.rmutphysics.com/physics.../index.php?option...



ธรรมชาติของคลื่น (The nature of a wave)
คลื่นและการเคลื่อนที่คล้ายคลื่น (Waves and wave-like motion)
คลื่นมีอยู่ทุก ๆ ที่ ไม่ว่าเราจะรู้ตัวหรือไม่ก็ตาม ในชีวิตประจำวันเราได้พบเจอคลื่นต่าง ๆ มากมาย เช่น คลื่นเสียง, คลื่นแสง, คลื่นวิทยุ, คลื่นไมโครเวฟ, คลื่นน้ำ เป็นต้น การศึกษาเรื่องคลื่นทำให้เราสามารถอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุบางประเภทที่มีลักษณะคล้ายกับคลื่น เช่น การเคลื่อนที่ของลูกตุ้มนาฬิกา การเคลื่อนที่ของมวลที่แขวนไว้กับสปริง เป็นต้น
ที่มา
www.kpsw.ac.th/teacher/piyaporn/page1.htm



คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ
คุณสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคือเป็นคลื่นที่เกิดจากคลื่นไฟฟ้าและคลื่นแม่เหล็กตั้งฉากกันและเคลื่อนที่ไปยังทิศทางเดียวกัน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถเดินทางได้ด้วยความเร็ว 299,792,458 m/s หรือเทียบเท่ากับความเร็วแสง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เกิดจากการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic disturbance) โดยการทำให้สนามไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็กมีการเปลี่ยนแปลง เมื่อสนามไฟฟ้ามีการเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก หรือถ้าสนามแม่เหล็กมีการเปลี่ยนแปลงก็จะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวาง ประกอบด้วยสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กที่มีการสั่นในแนวตั้งฉากกัน และอยู่บนระนาบตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นที่เคลื่อนที่โดยไม่อาศัยตัวกลาง จึงสามารถเคลื่อนที่ในสุญญากาศได้
ที่มา
www.gisthai.org/about-gis/electromagnetic.html



สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้างเราเรียกช่วงความถี่เหล่านี้ว่า "สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า" และมีชื่อเรียกช่วงต่าง ๆ ของความถี่ต่างกันตามแหล่งกำเนิดและวิธีการตรวจวัดคลื่น
ที่มา
https://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=76376



รังสีอัลตราไวโอเลตและรังสีอินฟราเรด
รังสีอินฟาเรด (infrared rays) รังสีอินฟาเรด มีช่วงความถี่ 10ยกกำลัง11 - 10ยกกำลัง14 Hz หรือ ความยาวคลื่น ตั้งแต่ 10ยกกำลัง-3 - 10ยกกำลัง-6 เมตร ซึ่ง มี ช่วงความถี่ คาบเกี่ยว กับ ไมโครเวฟ รังสีอินฟาเรด สามารถ ใช้กับฟิล์มถ่ายรูป บางชนิด ได้ และ ใช้ เป็น การควบคุม ระยะไกล หรือ รีโมทคอนโทรล กับ เครื่องรับโทรทัศน์ ได้ รังสีอินฟราเรดบางคนเรียกว่ารังสีความร้อน เพราะสสารที่มีความร้อนจะต้องมีรังสันี้ออกมา ทำให้สามารถสร่างกล้องอินฟราเรดที่สามารถมองเห็นวัตถุในความมืดได้ เช่น อเมริกาสามารถใช้กล้องอินฟราเรดมองเห็นเวียตกงได้ตั้งแต่สมัยสงครามเวียตนาม
รังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet rays)รังสีอัลตราไวโอเลต หรือ รังสีเหนือม่วง มี ความถี่ช่วง 10ยกกำลัง15 - 10ยกกำลัง18 Hz เป็น รังสี ตาม ธรรมชาติ ส่วนใหญ่ มา จาก การแผ่รังสี ของ ดวงอาทิตย์ ซึ่ง ทำ ให้ เกิด ประจุ อิสระ และไอออน ใน บรรยากาศ ชั้น ไอโอโนสเฟียร์ รังสีอัลตราไวโอเลต สามารถ ทำ ให้ เชื้อโรค บาง ชนิด ตาย ได้ แต่ มี อันตราย ต่อ ผิวหนัง และ ตา คน
ที่มา
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=anak-nnn&month=03-2007&date=13&group=3&gblog=1



การเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เมื่อประจุไฟฟ้า บวกและลบเกิดการสั่นแบบซิมเปิลฮาร์มอนิก จะทำให้เกิดเส้นแรงไฟฟ้าขึ้นระหว่างประจุทั้งสอง
ที่มา
www.pt.ac.th/ptweb/prajead/electric/EM_wave/.../emf.htm



คุณสมบัติของเสียง
1. คุณสมบัติของเสียงขับร้องของมนุษย์
ในธรรมชาติเสียงของมนุษย์สามารถปรับระดับเสียงสูง-ต่ำได้ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับเสียงดนตรี จึงถือว่าเสียงมนุษย์เป็นเสียงดนตรีชนิดหนึ่ง ซึ่งมนุษย์ได้พัฒนาการปรับเสียงสูง-ต่ำ จนกลายเป็นเสียงขับร้องที่ไพเราะได้ โดยเริ่มจากการสวดมนต์ การขอพรจากเทพเจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ การขับลำนำ การอ่านคำประพันธ์ การขับเสภา ตามลำดับจนเป็นการขับร้องประเภทต่าง ๆ ในที่สุด นอกจากนี้ เสียงของมนุษย์ยังมีลักษณะเฉพาะ ซึ่งแตกต่างกันไปตามเพศและวัยอีกด้วย เช่น เสียงเด็กและผู้หญิงมักจะเสียงเล็กแหลม เสียงผู้ชายจะมีเสียงทุ้มใหญ่ เป็นต้น
2. คุณสมบัติของเสียงดนตรี
เสียงดนตรีเป็นเสียงที่มีระดับเสียงสูง-ต่ำ เหมือนกับเสียงของมนุษย์ แต่จะเป็นระบบมากกว่า ซึ่งมีพัฒนาการมาจากการขับลำนำ และการบรรเลงเครื่องดนตรีประกอบพิธีกรรมทางศาสนา และความเชื่อต่อมามีการพัฒนาเครื่องดนตรีและวิธีการบรรเลงดนตรีได้หลากหลายวิธี ทำให้เสียงดนตรีมีระดับสูง-ต่ำมากขึ้นและมีลักษณะของเสียงเพิ่มขึ้นหลายเสียง
ที่มา
www.thaigoodview.com/node/18316



การเกิดเสียง
เสียง เริ่มเกิดขึ้นเมื่อวัตถุหรือแหล่งกำเนิดเสียงมีการสั่นสะเทือนส่งผลต่อการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของอากาศที่อยู่โดยรอบ
ที่มา
www.thainame.net/project/sound507/Untitled-3.html



เสียงทุ้ม-เสียงแหลม
หูของมนุษย์เรา (รวมถึงสัตว์อื่นๆ) เป็นอวัยวะที่มีความสามารถในตรวจจับคลื่นเสียง โดยส่วนของแก้วหู (Ear Drum) ซึ่งเป็นแผ่นเนื้อเยื่อที่เบาและอ่อนบางมากๆ จะสั่นไหวมาก-น้อยและเร็ว-ช้าตามความผันแปรของความดันอากาศที่เดินทางเข้ามาในช่องหู (Ear Canal)ในกรณีของมนุษย์นั้น หูและระบบประสาทการฟังที่มีสุขภาพและสภาพที่สมบูรณ์จะสามารถได้ยินเสียงที่มีความถี่จากต่ำสุดที่ 20Hz ขึ้นไปถึงสูงสุดที่ 20,000Hz แต่ก็ไม่ได้หมายถึงว่าความไวในการได้ยินเสียงหรือความรู้สึกได้ในการฟังจะเท่ากันหมดในทุกๆ ย่านความถี่
คำว่าความถี่ (Frequency) นั้นเป็นคุณสมบัติหนึ่งของคลื่น โดยจะหมายถึงจำนวนครั้งของรอบการสั่น (Vibration) ของอนุภาคในตัวกลาง (Medium) ซึ่งก็คือจำนวนครั้งของช่วงคลื่น (ช่วงหนึ่งความยาวคลื่น-Wave Length) ที่เคลื่อนผ่านจุดหนึ่งจุดใดไปในช่วงเวลาหนึ่ง โดยหากวัดจำนวนช่วงคลื่นที่เคลื่อนตัวผ่านไปใน 1 วินาที ก็จะเท่ากับความถี่ของคลื่นในหน่วย Hertz (Hz – เฮิร์ซ) นั่นเอง
ที่มา
www.kce101.com/forums/index.php?topic=98.0



สรุปสูตรจากสมบัติโดยทั่วไปของเสียงและคลื่นทั่วไป
สิ่งที่ต้องการหา สูตร
ความเร็วเสียงในอุณหภูมิต่าง ๆ Vt= 331+0.6t
ความเร็วเสียง V = fl
ความเร็วเสียง V = s/t
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงดัง S1P- S2P = nl
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงดัง dsinq = nl
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงค่อย S1P- S2P = (n-1/2)l
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงค่อย dsinq = (n-1/2)l
สูตรที่ใช้ในการแทรกสอดของเสียงค่อย = (n-1/2)l
ความถี่บีตส์ fB= f1-f2
ความเข้มเสียง(I) I=W/At = P/A = P/4pR2
ที่มา
www.yimwhan.com/board/show.php?user...topic=10...

วันจันทร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

o-net ปี 52



















ข้อ 57
ตอบ 2
เพราะ แสงเหนือแสงใต้ มีความสัมพันธ์กับสนามแม่เหล็กของโลก เพราะบริเวณที่ปรากฏแสงเหนือแสงใต้ ให้เห็นบนท้องฟ้าบ่อยที่สุดนั้น เป็นโซนห่างจากขั้วเหนือและใต้ของแม่เหล็กโลก จาก 20 ถึง 25 องศาโดยรอบ สำหรับตำบลที่มองเห็นแสงเหนือแสงใต้จากไกล จะปรากฏว่าศูนย์กลางความสว่างของแถบแสงอยู่ตรงทิศทางตามแนวของเข็มทิศพอดี นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่า แสงเหนือแสงใต้เกิดจากการที่อนุภาคไฟฟ้า โดยเฉพาะโปรตอนและอิเลคตรอนซึ่งเดินทางมาจากดวงอาทิตย์ พุ่งเข้าชนบรรยากาศของโลกด้วยความเร็วนับร้อยหรือพันกิโลเมตรต่อวินาที อนุภาคเหล่านี้มีกำเนิดในบรรยากาศของดวงอาทิตย์บริเวณเหนือกลุ่มจุดและจะเกิดขึ้นมากมายมีความเร็วสูงขณะเมื่อเกิดการลุกจ้าหรือการระเบิดขึ้นในบริเวณนั้น กระแสอนุภาคเหล่านี้บางส่วนจะเคลื่อนที่มาทางโลกของเรา โดยเหตุที่โลกมีสนามแม่เหล็กห่อหุ้มอยู่รอบตัว อนุภาคไฟฟ้าไม่สามารถจะเคลื่อนที่ตัดผ่านสนามแม่เหล็กเข้ามาตรงๆ ได้ จึงมีการเบี่ยงเบนหมุนควงตามเส้นแรงแม่เหล็ก เข้าสู่บรรยากาศของโลกทางขั้วเหนือและขั้วใต้ของโลก

ข้อ 56
ตอบ 3
เพราะ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ ปัจจุบันมีการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในหลายๆด้านเช่น การติดต่อสื่อสาร (มือถือ โทรทัศน์ วิทยุ เรดาร์ ใยแก้วนำแสง) ทางการแพทย์ (รังสีเอกซ์) การทำอาหาร (คลื่นไมโครเวฟ) การควบคุมรีโมท (รังสีอินฟราเรด)

คุณสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคือเป็นคลื่นที่เกิดจากคลื่นไฟฟ้าและคลื่นแม่เหล็กตั้งฉากกันและเคลื่อนที่ไปยังทิศทางเดียวกัน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสามารถเดินทางได้ด้วยความเร็ว 299,792,458 m/s หรือเทียบเท่ากับความเร็วแสง

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เกิดจากการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic disturbance) โดยการทำให้สนามไฟฟ้าหรือสนามแม่เหล็กมีการเปลี่ยนแปลง เมื่อสนามไฟฟ้ามีการเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามแม่เหล็ก หรือถ้าสนามแม่เหล็กมีการเปลี่ยนแปลงก็จะเหนี่ยวนำให้เกิดสนามไฟฟ้า

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวาง ประกอบด้วยสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กที่มีการสั่นในแนวตั้งฉากกัน และอยู่บนระนาบตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นที่เคลื่อนที่โดยไม่อาศัยตัวกลาง จึงสามารถเคลื่อนที่ในสุญญากาศได้

สเปกตรัม (Spectrum) ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะประกอบด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่และความยาวคลื่นแตกต่างกัน ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่ คลื่นแสงที่ตามองเห็น อัลตราไวโอเลต อินฟราเรด คลื่นวิทยุ โทรทัศน์ ไมโครเวฟ รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา เป็นต้น ดังนั้นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จึงมีประโยชน์มากในการสื่อสารและโทรคมนาคม และทางการแพทย์

ข้อ 55
ตอบ 1
เพราะ คลื่นเสียงเกิดการหักเหได้ เมื่อคลื่นเคลื่อนผ่านตัวกลางที่มีคุณสมบัติแตกต่างกันคลื่นเสียงเคลื่อนที่ในตัวกลางต่างกันจะมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน

ข้อ 54
ตอบ 2
เพราะ
1. การสะท้อน เกิดขึ้นเมื่อเคลื่อนที่ไปกระทบตัวกลางอีกชนิดหนึ่ง(เรียกว่าตัวสะท้อน) จะทำให้ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเปลี่ยนไปจากเดิม ส่วนความเร็วและความถี่ของคลื่นจะคงเกิม การสะท้อนของคลื่นเป็นไปตามกฏการสะท้อน


2. การหักเห เกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านผิวรอยต่อของตัวกลาง ในการหักเห ความถี่ของคลื่นเท่าเดิม โดยความเร็วและความยาวคลื่นเปลี่ยนไปแน่นอน ส่วนทิศทางการเคลื่อนที่โดยปกติจะเปลี่ยนไปจากเดิม ยกเว้นเมื่อคลื่นตกตั้งฉากกับผิวรอยต่อของตัวกลาง

3. การแทรกสอด เกิดจากแหล่งกำเนิดคลื่น 2 แหล่งที่มีความถี่ ความยาวคลื่น เท่ากัน มีเฟสตรงกันหรือต่างกันคงที่ เราเรียกแหล่งกำเนิดทั้งสองว่าแหล่งกำเนิดคลื่นอาพันธ์ จะทำให้คลื่นจากแหล่งกำเนิดทั้งสองไปพบกันแบบเสริมกัน(เรียกว่าจุดปฏิบัพ)หรือหักล้างกัน(เรียกว่าจุดบัพ)

จุดปฏิบัพ เกิดจากจุดที่สันคลื่นของคลื่นขบวนหนึ่งไปพบกับสันคลื่นของอีกขบวนหนึ่ง หรือจุดที่ท้องคลื่นของขบวนหนึ่งไปพบกับท้องคลื่นของอีกขบวนหนึ่ง จึงทำให้จุดนี้มีแอมปลิจูดลัพธ์มากที่สุด น้ำจะกระเพื่อมมากที่สุด (สูงขึ้นมากที่สุด เมื่อสันคลื่นพบสันคลื่น และต่ำลงมากที่สุด เมื่อท้องคลื่นพบท้องคลื่น)
จุดบัพ เป็นจุดที่สันคลื่นของขบวนหนึ่งไปพบกับท้องคลื่นของอีกขบวนหนึ่ง แอมปลิจูดลัพธ์ที่จุดนี้จะเป็นศูนย์ น้ำจึงไม่กระเพื่อม หรือกระเพื่อมน้อยสุด

4. การเลี้ยวเบน เกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปพบสิ่งกีดขวาง ทำให้คลื่นสามารถเคลื่อนที่อ้อมสิ่งกีดขวางได้

ข้อ 53
ตอบ 2
เพราะ การสะท้อนและการหักเหของคลื่นที่ผ่านมาเรา พบว่าเมื่อคลื่นเคลื่นที่ไปพบสิ่งกีดขวางที่คลื่นนั้นไม่สามารถทะลุผ่านไปยังตัวกลางใหม่ได้ คลื่นนั้นจะเกิดการสะท้อนกลับ คลื่นบางส่วนที่ผ่านไปได้จะสามารถแผ่จากขอบขอลสิ่งกัดขวาง เข้าไปทางด้านหลังของสิ่งกีดขวางนั้น คล้ายกับคลื่นเคลื่อนที่อ้อม

o-net ปี 50













































เกี่ยวกับคลื่น

1. www.rmutphysics.com/physics/oldfront/88/wave.html
2. www.bkw.ac.th/content/snet3/saowalak/wave/wave.htm
3. www.icphysics.com/modules.php?name=Content&pa...
4. www.rsu.ac.th/science/physics/pom/physics.../wave_1.htm
5. www.bs.ac.th/lab2000/physicweb/sonic.htm